สมองเสื่อมในผู้สูงอายุ (Dementia Syndrome in the Elderly) คือ ภาวะถดถอยทางด้านสติปัญญา และการรับรับรู้ สำหรับผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป มักแสดงพฤติกรรมจากความจำ คำนวณ ตัดสินใจ จินตนาการ และภาษาบางอย่างออกมาผิดปกติ เมื่อมีอาการรุนแรงขึ้นบุคลิกภาพจะเปลี่ยนไป ส่งผลกระทบต่อหน้าที่การงาน และการดำเนินชีวิตประจำวัน ซึ่งมีวิธีที่สามารถชะลอความเสี่ยงของภาวะนี้โดยทำได้ทุกวัย
การฝ่อตัวของเซลล์สมองที่เสื่อมไปตามธรรมชาติเมื่ออายุมากขึ้น ซึ่งมีปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิดภาวะนี้ ได้แก่
โรค
พฤติกรรม
อุบัติเหตุทางสมอง
แบ่งออกเป็น 3 ระยะ
ระยะแรก
ระยะปานกลาง
ระยะสุดท้าย
การบำบัด
เพื่อให้ผู้ป่วยรับรู้เหตุการณ์ในปัจจุบัน ซึ่งจะสอดคล้องกับกิจกรรม เช่น
กระตุ้นอารมณ์ให้เกิดความจำในอดีต โดยปฏิบัติกิจกรรมตามวิถีชีวิตที่ผ่านมาของผู้ป่วย เช่น
ปรับอารมณ์ และความคิดของผู้ป่วย เช่น
การใช้ยา
ยาในกลุ่ม Cholinesterase Inhibitors
ยาในกลุ่ม NMDA Receptor Antagonist
สมองเสื่อมในผู้สูงอายุ จะมีอารมณ์ที่หดหู่ หลง ก้าวร้าวผิดปกติ แต่จะไม่เกี่ยวข้องกับโรคซึมเศร้า หรือจิตเวช ปัญหานี้สามารถส่งผลกระทบในระดับชาติได้ ตามที่เห็นกันในข่าว ผ่านสื่อต่าง ๆ เช่น การถูกทารุณกรรม ทอดทิ้ง กลายเป็นบุคคลไร้ญาติ เร่ร่อนอยู่ตามที่สาธารณะ ดังนั้นบุตรหลาน ญาติผู้ป่วย ควรทำความเข้าใจ ไม่ปล่อยปละละเลย อีกทั้งรัฐบาลจะต้องมีมาตรการช่วยเหลือ เพื่อลดปัญหานี้ในสังคม
เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง
ตรวจหาความผิดปกติโรคทางสมอง ด้วยการตรวจโดยใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า MRI